Liberal Thai blocked by MICT!

October 29, 2009

We have just discovered free Thai language news site Liberal Thai blocked by a transparent proxy redirecting users to Thailand’s ICT ministry.

Liberal Thai is a new websites which has been translating news articles in English into Thai making them accessible to Thai readers, particularly those from Political Prisoners in Thailand.

The only news article which might be suspect is LT’s Thai translation of “Thailand’s Political Muddle” from October 28’s Asia Sentinel. PPT’s coverage of this article and, indeed the article itself in English, are not blocked.

Might such banal commentary as “feckless heir” (รัชทายาทที่อ่อนแอ) now constitute lèse majesté?

Incidentally, dictionary definitions for “feckless” from Scots Gaelic are weak, feeble, ineffective, incompetent, futile, worthless, careless, irresponsible, indifferent, lazy, having no purpose or worth, unlikely to be successful.

We hardly think that any of these definitions can be applied to Thailand’s succession. The truth is, we simply don’t know because Thailand’s next king has not been tried.

However, suppressing the news by blocking websites does not make the news just go away. Thailand has much to learn in its domestic policies (we have a foreign head of state advising us on the Patani insurgency) and its international relations. No matter how deep Thai government tries to bury our heads in the sand, what others think of us matters.

Liberal Thai is one of the few websites trying to allow Thais access to all opinions so that we can make responsible decisions for ourselves, as a community of peers.

We call on the ICT ministry to justify such censorship and demand the court order blocking Liberal Thai as required under Thai law.

The Thai translation and article in English are reprinted below and are still accessible by anonymous proxy & VPN:

เอเซียเซนทิเนล: การเมืองอันยุ่งเหยิงของประเทศไทย

LiberalThai: October 29, 2009

Thailand’s Political Muddle

Written by JCK Lee
October 28, 2009
ที่มา – Asia Sentinel
แปลและเรียบเรียง – แชพเตอร์ ๑๑

กษัตริย์ที่ทรงพระประชวร รัชทายาทที่อ่อนแอ การต่อสู้ทางการเมือง และการวางแผนของสหภาพแรงงาน เหล่านี้ย่อมทำให้อนาคตดูมืดมน

เมื่ออาทิตย์ที่แล้ว พสกนิกรชาวไทยต่างปลื้มปิติ เมื่อเห็นกษัตริย์ภูมิพล อดุลยเดชทรงเสด็จลงจากห้องประทับรักษาพระวรกายบนพระแท่นนานนับอาทิตย์ ภาพพระวรกายที่ผอมบาง ดูอิดโรยประทับบนรถเข็นไฟฟ้า เป็นการเตือนให้เห็นถึงความไม่แน่นอนของประเทศไทยหากสิ้นพระองค์

การเมืองประเทศไทยที่ซับซ้อนซ่อนเงื่อนมักไม่ค่อยตกเป็นข่าว มีความพลิกผันที่ต้องเฝ้ามองอย่างตาไม่กระพริบ ยกตัวอย่างเช่น เหตุการณ์เมื่อต้นเดือนนี้ – พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ อดีตนายกรัฐมนตรีและนายพลที่เกษียณ ประกาศเข้าร่วมพรรคเพื่อไทย สืบต่อจากพรรคไทยรักไทยที่ถูกยุบไปของ ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการลี้ภัย นายทหารแห่งกองทัพหลายนายได้ตบเท้าเข้าร่วมเช่นเดียวกัน พล.อ. ชวลิตถูกกล่าวหาจาก พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ อดีตผู้เคยร่วมงานกัน อดีตนายทหาร อดีตนายกรัฐมนตรี และขณะนี้ดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรี และได้ขี้นชื่อว่าเป็นแกนนำการเคลื่อนไหวของกลุ่มพวกคลั่งเจ้าต่อต้านทักษิณ

ประเด็นนี้อาจมองข้ามไปได้ ชวลิตและนายทหารนอกราชการทั้งหลายเป็นทหารรุ่นเก่า และอาจจะพยายามหาทางกลับมาสู่อำนาจ อย่างไรก็ตาม อาจจะเป็นการแสดงความจริงว่า แม้ว่าจะมีการแตกแยกอย่างหนักระหว่างเสื้อแดงฝ่ายนิยมทักษิณ และเสื้อเหลืองฝ่ายต่อต้านทักษิณ แต่โอกาสทางการเมืองยังเหลือให้ทำการฉกฉวยอีกมาก อย่างที่พรรคประชาธิปัตย์ของนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เคยดึงเอาเนวิน ชิดชอบ อดีตแนวร่วมและผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่นของทักษิณ การซื้อเสียงสนับสนุนจากกลุ่มอีสานของเนวินสร้างความมั่นคงให้กับรัฐบาล แต่กลับเพิ่มความรังเกียจที่มีต่อนักการเมืองมากขี้น ไม่น้อยไปกว่าพวกที่เคยอ้างว่าจะล้างบางการเมืองหลังยุคทักษิณ

พรรคประชาธิปัตย์ในขณะนี้ต้องเผชิญกับการท้าทายทุกรูปแบบ สนธิ ลิ้มทองกุลแกนนำเสื้อเหลือง ตัวก่อกวนเบื้องหลังพันธมิตร ตัวตั้งต้นกล่าวหาทักษิณ ขณะนี้ได้จัดตั้งพรรคการเมืองชื่อพรรคการเมืองใหม่ในเดือนกรกฎาคม พรรคการเมืองใหม่นี้เพื่อใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองอย่างต่อเนื่องของตัวสนธิเองโดยไม่ต้องออกไปตามท้องถนน แต่ก็ไม่แน่แล้วแต่โอกาส อาจจะสามารถดึงคะแนนเสียงจากพรรคประชาธิปัตย์มากกว่าพรรคการเมืองอื่น สนธิ เจ้าพ่อสื่อ ยังคงผลักดันลัทธิของตัวเองผ่านทางหนังสือพิมพ์ สถานีโทรทัศน์ และเว็บไซต์

ความใกล้ชิดของพรรคเพื่อไทยกับสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจนำความกังวลมาให้รัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ สมศักดิ์ โกศัยสุข ผู้นำพรรคการเมืองใหม่คนแรก ซึ่งเคยเป็นแกนนำต่อต้านการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และถูกมองว่าอยู่เบื้องหลังปัญหาของสหภาพการรถไฟของการรถไฟแห่งประเทศไทย องค์กรซึ่งเต็มไปด้วยการโกงกินและคนล้นงาน ซึ่งทั้งรัฐบาลและข้าราชการหลายฝ่ายต่างต้องการเห็นการแปรรูปให้เอกชนบางส่วน

พวกคลั่งเจ้าต้องการสนธิ ซึ่งประกาศว่าพรรคการเมืองของเขามีอุดมการณ์เทิดทูนระบบกษัตริย์ซึ่งไม่มีอะไรคล้ายกับสนธิ อภิสิทธิ์เป็นผู้นำพรรคการเมืองที่ดูน่าเชื่อถือกว่าพรรคอื่นโดยส่วนใหญ่ แต่พรรคประชาธิปัตย์ยังคงถูกกดดันอย่างหนักจากรอบด้าน เมื่อถึงคราวเลือกตั้งที่จะมีขึ้นในปลายปี ๒๕๕๔ ถ้ายังคงมีการเลือกตั้งตามกำหนด

และยังนำเอาความยุ่งเหยิงไปรวมเข้ากับเรื่องการสืบทอดสันตติวงศ์อีก ซึ่งไม่น่าประหลาดใจเลยว่า ไม่มีเซียนคนใดที่จะสามารถทำนายอนาคตได้ ได้แต่ร่างแผนการไว้หลายร้อยรูปแบบ

ในอนาคตอันใกล้นี้มีประเด็นว่า อะไรจะเกิดขี้นกับทรัพย์สินของทักษิณ จะถูกอายัดหรือมีโอกาสในการต่อรองว่าทักษิณจะยังคงรักษาไว้ได้ แต่ต้องอาศัยอยู่นอกประเทศ และต้องปิดปากเงียบ แต่จะให้เขาเป็นเพียงแต่นักธุรกิจที่ทำมาหากินอยู่นอกประเทศหรือ ดูเหมือนจะเป็นเรื่องยาก แต่การต่อรองแบบใดก็ตาม เช่นการยื่นขอพระราชทานอภัยโทษของผู้สนับสนุนทักษิณ ก็ดูเหมือนจะเป็นเรื่องยากเช่นเดียวกัน จริงๆแล้วทักษิณอาจกลัวตายถ้าเขาต้องกลับมาสู่ประเทศไทยจริงๆ

พวกคลั่งเจ้ากลัวทักษิณ และความเห็นทำนองที่ว่าจะเป็นสาธารณรัฐซึ่งอาจฟังดูเว่อเกินไป แต่ยังคงเป็นไปได้ ทักษิณอาจมีคนเกลียดมาก แต่ความนิยมของทักษิณดูอาจจะเป็นรองแค่กษัตริย์ ไม่มีนักการเมืองคนใดมาเทียบเท่าได้ แม้ว่าจะอยู่ในระหว่างการลี้ภัย ทักษิณก็ยังคงเป็นเงาของการเมืองไทยมานับปี เช่นเดียวกับประธานาธิปดี ฮวน เปรองแห่งอาร์เจนตินา หลังจากถูกโค่นล้มอำนาจนานนับทศวรรษ และแม้แต่หลังจากที่ เปรม ซึ่งอายุปาเข้าไป ๘๙ ปีแล้ว จะตายไป ก็ยังคงไม่ทำให้อะไรแตกต่างนัก พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายพลเกษียณ ซึ่งมีความคิดคล้ายเปรม อาจเป็นผู้เข้ารับตำแหน่งต่อ ผู้ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลังจากการทำรัฐประหารปล้นอำนาจทักษิณ

อย่างไรก็ดี ปัญหาสำหรับพวกคลั่งเจ้าและกองทัพมีมากกว่าแค่เรื่องของทักษิณ สถาบันทั้งสองนี้กำลังเผชิญกับการถูกโจมตีอย่างรุนแรง ข้อแรก การสิ้นรัชกาลของกษัตริย์ภูมิพลย่อมเป็นความหายนะอย่างใหญ่หลวง ไม่มีทางที่จะวัดได้เลยว่า ความจงรักภักดีขนาดไหนที่ได้มอบแด่กษัตริย์ว่าเป็นผู้ทรงทำประโยชน์นานัปการให้กับประเทศ และความจงรักภักดีขนาดไหน ที่มอบให้แก่ระบอบกษัตริย์ว่าเป็นสถาบันหลักของประเทศไทย แต่เป็นที่แน่ชัดว่า ไม่มีใครที่สามารถมาแทนองค์กษัตริย์นี้ได้

สำหรับกองทัพ ได้เพิ่มอีกบทบาทหนึ่งในการป้องกันระบอบกษัตริย์จาก “การคุกคามเพื่อเปลี่ยนเป็นสาธารณรัฐ” รัฐบาลอภิสิทธิ์ได้ทุ่มงบประมาณอย่างไม่อั้น ซึ่งไม่มีเหตุผลอื่นในการทุ่มงบประมาณให้กองทัพได้ถึงขนาดนั้น จริงๆแล้ว มีความวิตกเรื่องกองทัพต้องการที่จะสร้างความชอบธรรมในการหลอกลวงเบื้องหลังการตรึงกำลังชายแดนที่มีการวิวาทกับกัมพูชา และเป็นตัวขวางความพยายามใดๆที่จะแก้ปัญหามุสลิมแบ่งแยกดินแดนทางภาคใต้ ที่มีการเสนอให้จังหวัดเหล่านั้นมีส่วนในการปกครองตัวเอง ในระยะสั้น สถานการณ์ทางภาคใต้อาจจะดีขี้นเล็กน้อย แต่ปัญหายังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง

แต่กองทัพเองหรือแม้แต่พวกข้าราชสำนักที่รายล้อมกษัตริย์ก็มีการแตกแยก พวกคลั่งเจ้าต้องการกษัตริย์ที่น่าเชื่อถือ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ ซึ่งทรงประทับที่เยอรมันเป็นเวลานาน อาจจะไม่เหมาะสมอย่างเต็มที่ ความนิยมของพระองค์อาจจะด้อยกว่าพระราชบิดา และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ พระขนิษฐาของพระองค์ แต่ไม่มีใครสงสัยในเรื่องความมุ่งมั่นของพระองค์ที่จะสืบทอดรัชสมัยต่อจากพระราชบิดา ไม่มีหนทางอื่นที่แน่ชัดไปกว่านี้นอกเสียจากความตาย ว่าพระองค์จะไม่บรรลุเป้าหมายนั้น อย่างไรก็ตาม ผู้ใกล้ชิดวงในของพระราชวังอาจจะต้องการให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯขี้นครองราชย์ หรือแต่งตั้งพระองค์เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จนกว่าองค์รัชทายาทชายของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชทรงบรรลุนิติภาวะ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณทรงได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งองค์รัชทายาทในปี ๒๕๑๕ เมื่อมีพระชนมายุได้ ๒๐ พรรษา

องค์รัชทายาทจะต้องทรงทำการต่อรองทางการเมืองเพื่อปกป้องพระราชสถานะของพระองค์หรือไม่ และถ้าเป็นเช่นนั้น ทักษิณจะอยู่ฝ่ายไหน

นอกเหนือจากประเด็นเรื่องทักษิณและการเมืองเรื่องอุปถัมภ์ ประเด็นสำคัญจริงๆก็คือการกระจายรายได้ และการแตกแยกระหว่างชาวกรุงและชาวชนบท เมื่อไม่กี่ปีมานี้การกระจายรายได้อาจจะยังไม่ถึงขั้นเลวร้ายที่สุด แต่ทั้งสื่อและแรงงานชนบทราคาถูกที่มีจำนวนลดลงได้ช่วยสร้างความตื่นตัวในทางการเมือง นโยบายประชานิยมของทักษิณซึ่งแจกจ่ายให้ชาวนา และนโยบายสามสิบบาทรักษาทุกโรคไม่ได้เป็นนโยบายที่สุดโต่ง จริงๆแล้วไม่มีความเสี่ยงใดๆอย่างที่ชนชั้นกลางชาวกรุงเทพที่ถูกตามใจจนเคยตัวอ้าง – ในการปรับการกระจายเศรษฐทรัพย์ใหม่หรือการที่รัฐบาลต้องแบกภาระหนี้อย่างหนัก

ในทางปฎิบัติ แทบจะไม่มีทางเลือกระหว่างนโยบายมหภาคของทักษิณ และนโยบายของผู้สืบต่ออำนาจ ทั้งทางฝ่ายพลเรือนและฝ่ายกองทัพ อภิสิทธิ์ยังได้ขยายบางนโยบายของทักษิณ เพื่อพยายามเอาชนะคะแนนเสียงสนับสนุนจากชาวชนบทในการเลือกตั้งครั้งหน้า

แต่ความตึงเครียดระหว่างชนชั้นจะมีมากขี้น และในบรรดาเสื้อแดงเองได้มีกลุ่มหัวรุนแรงหลายกลุ่มที่แสดงความต้องการในการต่อต้านระบบศักดินากรุงเทพ มากกว่าการยกย่องให้ทักษิณเป็นผู้นำ สื่อโดยทั่วไปอาจจะเริ่มมีการผ่อนตาม แม้จะไม่เป็นเอกฉันท์จากฝ่ายที่ชื่นชมสถาบัน และเป็นปรปักษ์กับทักษิณ แต่องค์กรที่ไม่ได้เป็นรูปแบบทางการยังคงเฟื่องฟู นักวิจารณ์บางคนอาจไม่เกรงกลัวกับกฎหมายหมิ่นฯ ในเรื่องโทษจำคุกอันยาวนาน หรือต้องลี้ภัยเพื่อสืบต่อลัทธิหัวรุนแรงต่อต้านสถาบัน ซึ่งยังเป็นแค่ความคิดริเริ่มมากกว่าที่จะเป็นความจริง แต่อาจจะพัฒนาไปถึงขั้นสร้างการคุกคามได้ ถ้าเกียรติคุณของระบอบกษัตริย์ตกต่ำลง และความต้องการเป็นประชาธิปไตยถูกขัดขวางจากทางกองทัพ

ภาพเหตุการณ์อนาคตที่ความยุ่งเหยิงจะเข้าสู่ดุลยภาพ เป็นเพียงแค่อุดมคติ ซึ่งจะสยบได้ด้วยอำนาจเงิน และความเห็นแก่ตัวที่พอกันทั้งสาธารณชนและนักการเมือง ฉะนั้น คำทำนายใดๆอาจเป็นเรื่องตลกก็ได้

from → ไม่มีหมวดหมู่

Thailand’s Political Muddle

JCK Lee

Asia Sentinel: October 28, 2009

http://asiasentinel.com/index.php?option=com_content&task=view&id=2121&Itemid=185

An ailing king, a feckless heir, political rivalries and conniving unions make the future uncertain

Thais were happy last week to see King Bhumibol Adulyadej out in the open after weeks on his sickbed. But the pictures of the thin, wan figure in a wheelchair were also a reminder of the uncertainties of Thailand without him.

That Thailand’s politics are convoluted is hardly news but the twists and turns can still surprise. Take, for instance, another event earlier this month – former prime minister, retired General Chavalit Yongchaiyudh, announced he was joining the Pheu Thai (For Thais) Party, the successor to deposed prime minister and now fugitive Thaksin Shinawatra’s outlawed Thai Rak Thai party. Other retired military types did the same. Chavalit earned a rebuke from his former colleague, ex-general, ex-prime minister Prem Tinsulanond, who now heads the Privy Council and is widely credited with leading the monarchist drive against Thaksin.

This could be dismissed as irrelevant. Chavalit and fellow retirees are yesterday’s men and may be simply trying to find a way back into relevance. Nonetheless, it could also be seen as symptomatic of the fact that despite the apparent deep divisions in the country between the pro-Thaksin Reds and the anti-Thaksin Yellows there is still more than enough scope for opportunistic politics of the sort that brought about the current support for Prime Minister Abhisit Vejjajiva’s Democrat Party from former Thaksin ally and rural power broker Newin Chidchob. Purchasing the support of Newin’s northeast allies secured the government but added to general cynicism about politicians, not least those claiming to be cleaning up after the Thaksin era.

The Democrats now face a challenge from a different direction, Yellow Shirt leader Sondhi Limthongkul, the rabble-rouser behind the People’s Alliance for Democracy (PAD) that led the charge against Thaksin, and his New Politics Party formed in July. The new party gives Sondhi a vehicle for his own continuing political involvement off the streets as well as, potentially, on. It may well draw more votes away from the Democrats than from other parties. Sondhi, a media baron, will continue to push his agenda through his newspapers, TV stations and websites.

Pheu Thai’s proximity to state enterprise unions is also a worry for a Democrat-led government. The party’s first leader was Somsak Kosaisuk, who led the fight against privatization of the Electricity Generation Authority of Thailand and is viewed as behind recent labor problems at the State Railway of Thailand, a corrupt and over-manned entity that many in the government and bureaucracy would like to see at least partially privatized.

The monarchists need Sondhi, who proclaims monarchism as his party’s ideology, but do not much like him. Abhisit makes a more credible leader than most of the alternatives but the Democrats could be hard-pressed on all sides when they face elections due in late 2011, assuming they take place on schedule.

Put this mess into the context of a possible royal succession and it is no surprise that no sensible person will provide a forecast of the future. A hundred and one different scenarios can be readily sketched.

In the more immediate future, there is the issue of what will happen to Thaksin’s assets. Will they be seized or is it possible that there will be a deal to let him keep them so long as he stays out of the country and keeps his mouth shut? But can he just be an offshore businessman? It seems unlikely. But any kind of deal, such as the royal pardon sought by some Thaksin supporters, is also unlikely. Indeed he might fear for his own life if he did return home.

Monarchist fears of him and his supposed republican sentiments may be exaggerated but they are still very strong. Thaksin may be loathed by many, but he is likely to remain second only to the king in popularity. No other politician comes close. Even in absentia he is likely to be a shadow over Thai politics for years, just as Argentina’s President Juan Peron was for decades after his overthrow and even after death.

Nor would the departure of Prem, now 89, likely make a difference. His probable successor is the like-minded retired General Surayud Chulanont, who served as prime minister after the military coup that removed Thaksin.

The problems for the monarchists and the army however go beyond the issue of Thaksin. Both of these institutions face storms. First, the death of King Bhumibol will be a huge blow. It is hard to measure how much loyalty is given to the king as an individual who has done much for the nation and how much to the institution of the monarchy as a keystone of Thailand. But it is clear that no one has the standing to fill the king’s shoes.

As for the army, defending the monarchy against “republican threats” becomes another role. Its budget has been boosted by the Abhisit government but the raison d’être for a large military budget is none too obvious. Indeed, there are concerns that military desires to justify its existence lie behind contrived border spats with Cambodia and stand in the way of any attempt to resolve the problems of a Muslim insurgency in the south by offering the provinces a degree of autonomy. In the short run the situation in the south may have improved slightly but the problem will linger.

But the army itself is not free of factions, nor are the courtiers who surround the monarchy. The monarchists need a credible monarch. Crown Prince Vajiralongkorn, who spends much of his time in Germany, and also may not be fully fit, may lack the popularity accorded to his father and sister Princess Maha Chakri Sirindhorn. But no one doubts his determination to succeed his father. Nor is there any obvious way, short of death, that he won’t achieve that goal, however much some close to the palace might like to see Sirindhorn succeed or become Regent till the Crown Prince’s male heir reaches maturity. He was anointed as heir back in 1972 when he was 20.

Will the successor need to do some political deals of his own to protect his back? And if so, which side will Thaksin be on?

Beyond the issue of Thaksin and the politics of patronage are real issues of income distribution and the metropolitan/rural divide. Income distribution may not have been getting any worse in recent years, but the media and the declining supply of cheap rural labor have all helped raise political awareness. Thaksin’s populist policies, with handouts to farmers and cheap health care, were nothing very radical. Certainly they did not risk – as the pampered Bangkok middle class claims – massive wealth redistribution or a dangerous government debt burden.

In practice there has been little to choose between macro policies under Thaksin and those of his successors, both military and civilian. Abhisit has even expanded some Thaksin policies to try to win rural support at the next election.

But class tensions have increased and among the Red Shirts there are plenty of aspiring radicals who have been demonstrating against the Bangkok-elite system rather than in favor of Thaksin the man. The media may have become generally compliant, almost unanimously pro-establishment and hostile to Thaksin, but non-governmental organizations still flourish. Some critics still brave the lese majeste laws, and long prison terms or voluntary exile to foster anti-monarchy radicalism that is as yet more incipient than real but could develop into a threat if the prestige of the monarchy plummets and democratic aspirations are thwarted by the military.

On balance a muddle-through scenario looks more likely as ideological positions yield to the power of money and the cynicism of public and politicians alike. But any forecast may be foolish.


3 Responses to “Liberal Thai blocked by MICT!”


  1. Good for you for publishing what they’ve blocked!


  2. […] Liberal Thai blocked in Thailand Freedom Against Censorship in Thailand reports that Liberal Thai, a Thai-language blog has joined the long list of sites blocked by the Ministry […]


  3. […] Freedom Against Censorship Thailand (FACT). […]


Leave a comment