Le roi est mort…
October 14, 2016
JUST SAY KNOW!
July 29, 2016
Time to THexit
June 26, 2016
Just two choices were given British voters: LEAVE or REMAIN.
Our first reaction to the news that the highest turnout of United Kingdom voters in history chose to abandon the European Union is that, as in Scotland’s independence referendum or the Quebec separation referendum in Canada, the results, 52% to 48%, was simply too close to call.
Such referenda are good examples of genuine participatory democracy rather than simply voting in politicians for their often-false promises.
Regardless of the marginal will of the people, UK’s governing Tory Party has unsurprisingly vowed to ignore the results and remain in the EU.
While that remains to be seen, departure from the Union will mean far more than economic readjustment. The UK will be giving up a well-respected charter, incumbent on all EU countries, incisive and binding oversight on all member country decisions.
It will also mean that the UK, which in recent years has become the world’s premier surveillance state, will be giving up the EU Charter’s protections for human rights, freedom of expression, and civil liberties.
Thailand’s own referendum looms. The vote for a new Constitution is really not about that at all. It’s about the military: LEAVE or REMAIN. Will Thailand’s military decide what’s best for us regardless of the popular vote? We have already been illegitimately forced to give up our Constitutionally-protected freedom of expression. Will we write human rights and civil liberties protections into law for Thailand’s future?
If the Constitution fails, will Thailand’s strongman do the right thing, like David Cameron, and step down? Does he have enough courage to admit he’s been wrong all along?
Petitioning The Government of Thailand
ต่อต้านการตั้งซิงเกิลเกตเวย์ Go against Thai govt to use a Single Internet Gateway.
SIGN THE PETITION: https://www.change.org/p/thai-govt-ต่อต้านการตั้งซิงเกิลเกตเวย์-stop-proposed-plan-for-single-internet-gateway
ถ้าตั้ง Single Gateway จริง ท่านจะพบเจอกับอะไร?
- การถูกบล็อก แบน สแกน และตรวจสอบทุกการใช้งานในอินเตอร์เนตจากรัฐบาล
- รัฐบาลสามารถป้องกันการเข้าถึงเว็บไซต์ที่ไม่ต้องการให้เข้าได้ เหมือนประเทศจีน ที่ไม่อนุญาตให้เข้า Facebook หรือสื่อ Social Network ที่รัฐไม่ต้องการให้ประชาชนเข้าถึง
- การติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เนตทุกอย่างจะขึ้นอยู่กับระบบเดียว และถ้าระบบนั้น “ถูกโจมตีจนล้มเหลว” นั่นหมายถึงระบบอินเตอร์เนตที่ต้องพินาศทั้งประเทศ
- ความเชื่อมั่นของต่างชาติเกี่ยวกับระบบความมั่นคงและปลอดภัยของการให้บริการอินเตอร์เนตต่ำถึงขีดสุด เพราะหน่วยงานเอกชนสามารถถูกล้วงลูกโดยรัฐบาลได้ตลอดเวลา
Single Gateway คืออะไร?
เริ่มจากคำว่าเกตเวย์ก่อน เกตเวย์ถ้าแปลเป็นภาษาไทยง่ายๆก็คือประตูทางผ่าน ศัพท์ในวงการไอทีหมายถึงจุดที่เป็นเสมือนประตูเชื่อมระหว่างเครือข่ายหนึ่งไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง และเป็นตัวที่เชื่อมต่อโครงข่ายของแต่ละประเทศเข้าด้วยกัน
สมมุติว่าเราเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตกับเซิฟเวอร์ ปัจจุบันจะต้องผ่าน International internet gateway (IIG) ในประเทศเล็กๆ หรือประเทศที่ต้องการควบคุมผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตอย่างเช่น จีน ผู้ให้บริการ IIG จะมีเพียงเจ้าเดียวเท่านั้น ซึ่งก่อนหน้านี้ไทยก็เคยใช้ระบบนี้ตอนที่อินเตอร์เน็ตยังไม่แพร่หลายมากนัก คือเวลาต่ออินเตอร์เน็ต ทุกจุดเชื่อมต่อก็จะต้องมารวมที่ กสท ซึ่งเป็นผู้ให้บริการ IIG แต่ในปัจจุบัน หลังวิกฤติปี 40 ไอเอ็มเอฟก็ได้สั่งให้เราเปิดเสรีโทรคมนาคม ทำให้เกตเวย์ในไทยเพิ่มมากขึ้นจนตอนนี้มีถึงสิบกว่าเกตเวย์แล้ว
เพราะฉะนั้น Single Gateway เปรียบเสมือนการใช้ประตูเพียงบานเดียว เข้าออก ทำให้การใช้งานอินเตอร์เน็ตง่ายต่อการควบคุมโดยภาครัฐ
ทำไมรัฐจะกลับมาใช้ Single Gateway?
อย่างที่กล่าวไปแล้ว Single Gateway คือประตูเพียงบานเดียว คือไม่ว่าอินเตอร์เน็ตภายในประเทศจะเชื่อมกันกี่หมื่นกี่พันเส้น แต่ทางออกเพื่อไปเชื่อมกับเครือข่ายในต่างประเทศนั้นจะเหลือแค่จุดเดียวเท่านั้น การดูแลการเข้าถึงอินเตอร์เน็ต การตรวจสอบข้อมูล การดักจับข้อมูล ฯลฯ จึงทำได้ง่ายกว่าเยอะ ในรัฐที่มีการปกครองแบบอำนาจนิยมเบ็ดเสร็จเช่นประเทศไทย จึงอาจเป็นเรื่องไม่น่าแปลกใจเท่าไร ที่รัฐบาลจะพยายามควบคุมการใช้งานและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารจากโลกภายนอก โดยอ้าง ‘ความมั่นคง’
ปัญหาและสิ่งที่จะตามมาของการใช้ Single Gateway?
แน่นอนว่าการมีประตูทางออกเดียวจะทำให้อินเตอร์เน็ตช้าลงแน่นอน และอีกอย่างคือหากว่าเกตเวย์ล่มก็จะล่มกันหมดทั้งประเทศ เพราะจะไม่มีเกตเวย์ตัวอื่นรองรับเลย
แต่ที่สำคัญกว่านั้นก็คือการที่ผู้ให้บริการ gateway (ซึ่งมีอยู่เจ้าเดียว) สามารถดักจับข้อมูลสำคัญของผู้ใช้งานได้อย่างง่ายดาย รวมถึงปิดกั้นการเข้าถึงข้อมูลที่เราค้นหาได้อย่างรวดเร็วเต็มประสิทธิภาพด้วย
ถ้าหากมีการใช้ Single Gateway จริง ก็จะยิ่งทำให้บริษัทต่างประเทศลังเลมากยิ่งขึ้นในการเข้ามาลงทุนในประเทศไทย และผู้ให้บริการที่มีพาร์ทเน่อร์กับบริษัทต่างประเทศก็อาจจะสูญเสียรายได้ เนื่องจากบริษัทข้ามชาติจะเกิดความไม่แน่ใจด้านความมั่นคงและปลอดภัยของการให้บริการอินเตอร์เน็ตในบ้านเรา หากล่มปุ๊ป แน่นอนว่าจบเห่แน่ทั้งประเทศ รวมถึงข้อมูลความลับทางการค้าก็อาจจะถูกล้วงได้โดยง่าย ในขณะเดียวกันผู้ใช้อินเตอร์เน็ตทั่วไปก็จะถูกจำกัดการเข้าใช้งานกับเครือข่ายต่างประเทศมากยิ่งขึ้น และยิ่งต้องระมัดระวังเป็นพิเศษกับการเข้าถึงเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมโดยไม่รู้ตัวด้วยเช่นกัน
บทความจาก ISPACE THAILAND:
จับตา รัฐเตรียมคุมอินเตอร์เน็ตเบ็ดเสร็จ เร่งใช้ Single Gateway
————————————————————–
The proposal to unify all Thai Internet Links is still ongoing
https://www.blognone.com/node/72777
The proposal to unify all Internet gateways into a single entity was proposed back in May. There’s nothing new regarding the proposal since then, but it was traveling in the process in the cabinet during these timrd.
The prime minister’s command dated August 27th, (PDF, Thai Language) assigned the Ministry of Information and Communication Technology (MICT) to take responsibilities for establishing the entity and report the progress within September.
Another document dated July 14th, said that the reasons to establish such entity and merge all international links are “To control the inappropriate websites and control the inflow of information”. The document also said if there is any law that prohibits the establishment of the entity, that law should be quickly amended.
Source: PRD.go.th, this news was translated from https://www.blognone.com/node/72775
————————————————————–
ลิงค์อื่น ๆ หรือความรู้ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้:
- ซิงเกิล เกตเวย์: คุยกับ ‘อาทิตย์‘ เมื่อรัฐคุมอินเทอร์เน็ตเบ็ดเสร็จ พลเมืองจะอยู่อย่างไร?
- http://prachatai.org/journal/2015/09/61537
- ขอถกประเด็น Gateway พังหน่อยครับพี่น้องห้องหว้ากอ
- http://pantip.com/topic/32118917
- ซิงเกิล เกตเวย์ | เดลินิวส์ “กับแกล้มการเมือง ซิงเกิล เกตเวย์“
- http://www.dailynews.co.th/article/334074
This petition will be delivered to:
The Government of Thailand
Read the letter
Internet slow for you, too? Thai Netizen leaks docs showing compromise of secure transactions
May 28, 2016
[FACT comments: Readers should be aware that Thailand’s MICT is continuing its plan to consolidate the current ten international Internet gateways (IIG) into a single gateway to facilitate monitoring and censorship.
Even worse, the official Thai government documents leaked by TNN show that MICT is implementing plans to compromise encrypted SSL Internet transactions to pursue Thailand’s Great Firewall strategy.
If this still does not worry the ordinary person who relies on the Internet every single day, SSL is what makes online banking secure, among many other sorts of Internet transactions and all online commerce possible.
Put away that credit card!]
“Single Gateway” คืนชีพ ก.ไอซีทีเสนอในพ.ร.บ.คอมพ์ ให้มีวิธีระงับข้อมูลที่เข้ารหัส SSL
Thai Netizen Network: May 26, 2016
https://thainetizen.org/2016/05/single-gateway-back-ssl-censorship/
พบเอกสารนำเสนอที่มีชื่อ “กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” เสนอหลักการและเหตุผลแก้ไขมาตรา 20 ของพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ให้รัฐมนตรีสามารถออกประกาศกำหนดให้มีวิธีการในการปิดกั้นข้อมูลที่ถูกเข้ารหัสได้
ในหน้า 7 ของเอกสารนำเสนอดังกล่าว ระบุว่า “รัฐมนตรีอาจประกาศกำหนดหลักเกณฑ์ ระยะเวลาและแนวทางการปฏิบัติสำหรับการระงับการทำให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันภายใต้พัฒนาการทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป เช่น ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เข้ารหัสด้วยเทคโนโลยี SSL (Secure Socket Layer) ซึ่งถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการสื่อสารหรือส่งข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีการเข้ารหัสแบบ Public-key encryption นั้น จำเป็นต้องมีวิธีการและเครื่องมือพิเศษในการดำเนินการจึงจะสามารถกระทำได้สำเร็จ …”
หน้า 7 ของเอกสารนำเสนอกล่าวถึงการระงับหรือลบข้อมูลที่ถูกเข้ารหัสด้วย public-key encryption
ระบบอีเมล การสื่อสาร และการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน ใช้เทคโนโลยี SSL (Secure Sockets Layer) หรือ TLS (Transport Layer Security) ในการเข้ารหัสข้อมูลเป็นการทั่วไปเพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้กับผู้ใช้ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตอาจทราบได้ว่าเว็บไซต์ใดเข้ารหัสข้อมูล ด้วยการสังเกตที่อยู่เว็บไซต์ขึ้นต้นด้วยคำว่า https
ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่..) พ.ศ. …. ฉบับวันที่ 19 เมษายน 2559 ซึ่งผ่านสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) พิจารณาเห็นชอบในวาระที่หนึ่งไปแล้วนั้น นอกจากจะแก้ไขมาตรา 20 ให้สามารถปิดกั้นข้อมูลคอมพิวเตอร์ได้ แม้ข้อมูลนั้นจะไม่ผิดกฎหมายใด [ร่างมาตรา 15 เพิ่มมาตรา 20 (4)] แล้ว ยังแก้ไขมาตรา 15 ให้รัฐมนตรีกระทรวงดิจิทัลมีอำนาจออกประกาศเพิ่มเติมเรื่องขั้นตอนการปิดกั้นเว็บได้ [ร่างมาตรา 9 แก้ไขมาตรา 15] โดยหากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตไม่ทำตามประกาศดังกล่าวก็อาจจะต้องรับโทษ ซึ่งการออกประกาศเกี่ยวกับ SSL หรือ public-key encryption ในสไลด์ข้างต้นน่าจะเป็นอำนาจตามมาตรา 15 นี้
แก้ไขมาตรา 20 ให้สามารถปิดกั้นข้อมูลที่ผิดตามกฎหมายอื่นที่ไม่ใช่พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ได้ รวมถึงข้อมูลที่ไม่ผิดกฎหมาย แต่อาจขัดความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
แก้ไขมาตรา 15 ให้รัฐมนตรีมีอำนาจออกประกาศเพิ่มเติมเรื่องขั้นตอนการปิดกั้นข้อมูลได้
ข้อเสนอนี้สอดคล้องกับคำสั่งกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ 163/2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานทดสอบระบบเฝ้าติดตามสื่อออนไลน์ ซึ่งระบุว่าคณะทำงานด้านสื่อออนไลน์ ภายใต้คณะกรรมการเพื่อติดตามการเผยแพร่ข่าวสารต่อสาธารณะ (ซึ่งแต่งตั้งตามคำสั่ง คสช. (เฉพาะ) ที่ 12/2557 ลงวันที่ 19 มิ.ย. 2557) “พบว่ามีอุปสรรคในการตรวจสอบและปิดกั้นเว็บไซต์ที่มีการเข้ารหัสป้องกันข้อมูล (SSL : Secure Socket Layer)” ดังนั้นกระทรวงไอซีที “จึงเห็นควรให้มีการจัดหาและทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณ์ระบบเฝ้าติดตามสื่อออนไลน์เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะทำงานด้านสื่อออนไลน์ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ”
ทั้งนี้คณะทำงานทดสอบระบบเฝ้าติดตามสื่อออนไลน์ตามคำสั่งที่ 163/2557 ดังกล่าว มีอำนาจหน้าที่ 4 เรื่อง โดยสองเรื่องแรกคือ “1. ควบคุมการทดสอบระบบเฝ้าติดตามสื่อออนไลน์ที่มีการเข้ารหัสป้องกันข้อมูล (SSL : Secure Socket Layer) และประเมินผล เพื่อให้ได้ระบบที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เหมาะสมในการใช้งานสำหรับประเทศไทย” และ “2. ประสานทางเทคนิคกับผู้ประกอบการและผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตภายในประเทศและที่เชื่อมต่อกับต่างประเทศโดยตรง (International Internet Gateway) ในการทดสอบระบบเฝ้าติดตามสื่อออนไลน์”
คำสั่งกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ 163/2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานทดสอบระบบเฝ้าติดตามสื่อออนไลน์
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่ทำงานด้านความมั่นคงปลอดภัยของระบบเครือข่ายมองเรื่องนี้ว่า สาเหตุที่จำเป็นต้องประสานการทำงานกับทางผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต อาจเป็นเพราะวิธีหนึ่งที่จะเข้าถึงข้อมูลที่ถูกเข้ารหัส คือการใช้วิธีที่เรียกว่า “Man-in-the-Middle Attack” ซึ่งหากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตให้ความร่วมมือก็จะทำงานได้แนบเนียนขึ้น
หากร่างกฎหมายฉบับนี้ผ่าน มาตรา 15 ซึ่งกำหนดว่า “ผู้ให้บริการผู้ใดให้ความร่วมมือ ยินยอม หรือรู้เห็นเป็นใจให้มีการกระทำความผิด” จะต้องรับโทษด้วย จะเป็นภาระทางกฎหมายที่กดดันให้ผู้ให้บริการจำเป็นต้องให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่รัฐ ในการช่วยเหลือระงับข้อมูลที่ถูกเข้ารหัสได้ ทั้งนี้ก่อนที่จะระงับตัวข้อมูลได้ จำเป็นต้องเข้าถึงข้อมูลให้ทราบได้ก่อนว่าข้อมูลนั้นคืออะไร
ปกติการปิดกั้นเว็บไซต์ในปัจจุบัน จะใช้วิธีให้ผู้ให้บริการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตตรวจสอบที่อยู่เว็บไซต์ (url) ที่ผู้ใช้เรียกดู เทียบกับรายการปิดกั้น (block list) โดยถ้าพบว่าที่อยู่ที่เรียกในตรงกับชื่อในรายการ ก็จะปิดกั้น — อย่างไรก็ตาม กรณีที่ผู้ใช้ติดต่อกับเว็บไซต์ที่มีที่อยู่ขึ้นต้นด้วย https:// ซึ่งหมายความว่ามีการเข้ารหัสข้อมูลที่ส่ง สิ่งที่ผู้ให้บริการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตเห็นจะมีเพียงชื่อโดเมน ไม่มีส่วนอื่นๆ ของที่อยู่ เช่น หากผู้ใช้เข้าดูหน้าเว็บ https://www.facebook.com/thainetizen ที่อยู่ที่ผู้ให้บริการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตจะมีเพียง https://www.facebook.com เท่านั้น ทำให้ไม่สามารถปิดกั้นเฉพาะหน้า https://www.facebook.com/thainetizen ได้ หากต้องการปิดกั้น ก็จะต้องปิดกั้นทั้ง https://www.facebook.com ซึ่งจะกระทบกับหน้าอื่นๆ ในเว็บไซต์เดียวกันด้วย — ด้วยเหตุนี้ หากต้องการจะปิดกั้นเว็บไซต์ที่เข้ารหัสเป็นรายหน้า ก็จำเป็นต้องหาวิธีการถอดรหัสให้ได้ เพื่อให้ทราบที่อยู่
ในทางเทคนิค วิธีการและเครื่องมือในการเข้าถึงข้อมูลที่ถูกเข้ารหัสดังกล่าว หากมีการนำมาใช้ จะสามารถเข้าถึงข้อมูลที่เข้ารหัสได้ทุกชนิด เช่น การโอนเงิน สั่งซื้อสินค้าออนไลน์ ไม่เจาะจงเฉพาะกับเนื้อหาที่ผิดกฎหมายหรือขัดศีลธรรม
ขณะนี้ ร่างแก้ไขพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ดังกล่าวผ่านการเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ในวาระแรกไปแล้ว และกำลังอยู่ระหว่างการพิจาณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างฯ โดยมีกำหนดแล้วเสร็จประมาณสิ้นเดือนมิถุนายน 2559 หลังจากนั้นจะส่งให้กับสนช.พิจารณาวาระที่ 2 และที่ 3 ต่อไป ก่อนจะประกาศใช้เป็นกฎหมาย
หากท่านไม่เห็นด้วยกับการเสนอแก้ไขดังกล่าว ร่วมลงชื่อเรียกร้องให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติทบทวนได้ที่ http://chn.ge/1U9aVzS
อ่าน ข้อสังเกตเบื้องต้น 5 ข้อ ของเครือข่ายพลเมืองเน็ตต่อร่างพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
อ่านเอกสารนำเสนอฉบับเต็มด้านล่างนี้
%MCEPAS%MCEPASTEBIN%
mict-computer-crime-rational-slides-201605
Light a candle for free speech!
December 24, 2015
YOUR PRIVACY & ANONYMITY = YOUR FREEDOM! USE VPN TODAY!
October 1, 2015
Now that Thailand’s Internet ‘Great Firewall’ is being erected and we are reduced to a single international gateway to the rest of the world for purposes of surveillance, there’s only one solution to your privacy: Virtual Private Networks.
There has been some talk that VPNs may be made illegal in Thailand. Govts have shot themselves in the foot before but this is unlikely to happen because all corporations use VPN to communicate with their head offices to protect trade secrets.
To put this in perspective, Thailand currently has 10 international Internet gateways, bearing bandwidth of 1,954 Gb/sec.
With so many VPNs to choose from, it’s hard to make a decision for the right provider for you. Two of those crucial decisions are choosing a VPN which maintains no logs of your activity and one which you are able to pay anonymously.
TorrentFreak uses the Private Internet Access and FACT has been testing PIA for some months with great success. It’s possible to use PIA as an ‘always-on’ solution so you can just set it up and forget about it.
FACT needs to caution ANYBODY who uses VPN. “Loose lips sink ships!” Using a VPN is no excuse for using speech you might not use in public. No VPN is a “get out of jail free” card!
FACTsite has never succumbed to the gilded lure of advertising but, in today’s political climate, we think Private Internet Access is one of your very best choices. Don’t fancy decades in prison for your Facebook posts?
PIA supports OpenVPN, PPTP and IPSEC/L2TP multi-gigabit VPN tunnels. PIA has 2,906 servers in 31 locations in 20 countries on every continent for you to choose, meaning you can access content which is copyrighted in your choice of country, such as streaming TV or movies.
PIA’s IP cloak masks your real IP address with one of our anonymous IP addresses, effectively keeping websites and internet services from tracking your webbrowsing habits, monitoring what you search for, and discovering your geographic location.
Here’s how VPNs work:
Private Internet Access works on all your devices on every platform so you can take your VPN everywhere with you. Better still, each PIA account can be used on five different devices so you can carry your privacy wherever you are: home, office, mobile. Use a Windows PC at work, carry a MacBook Pro (OS X), play with Linux at home, use an iPad (iOS), and have a Galaxy (Android) in your pocket? PIA has you covered!
For a one-year subscription, PIA costs THB 121 (USD $3.33) a month. Surely your freedom deserves this.
Protect yourself today! Private Internet Access.
Silent nights…
December 22, 2014
2012 in review
January 1, 2013
The WordPress.com stats helper monkeys prepared a 2012 annual report for this blog.
Here’s an excerpt:
19,000 people fit into the new Barclays Center to see Jay-Z perform. This blog was viewed about 160,000 times in 2012. If it were a concert at the Barclays Center, it would take about 8 sold-out performances for that many people to see it.
Somyot’s verdict Wednesday, December 19–please come!
December 17, 2012
Somyot Prueksakasemsuk, editor and labor rights advocate, has been held without bail since his arrest April 30, 2011. Somyot’s next court appearance will be on December 19, 2012; the court is expected to announce Somyot’s verdict so your support is most important. We welcome all observers.
Briefing Note_SomyotPrueksakasemsuk 15102012
Based on discussion with Somyot’s defence team, it has proven a deterrent to legal excesses and improper judicial practice for individuals and organizations attending to send an official letter to Thawee Prachuaplarb, Director-General of Criminal Court Judges, notifying the Court of your participation requesting. It would be helpful if your letter, if in English, should be accompanied by a copy of a Thai translation, if possible. The letter should be addressed to Criminal Court Building, Rachadapisek Road, Jompon District, Chatuchak Sub-district, Bangkok 10900 (Calling/Faxing in Thailand: Tel. 02-541-2284-90, Fax 02-541-2142 and 02-541-2141, Calling/Faxing outside Thailand: Tel. (662) 541 – 2284 to 2290, Fax (662) 541 – 2142, 541 – 2141) (in Thai: นายทวี ประจวบลาภ อธิบดีผูพิพากษาศาลอาญา อาคารศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก แขงวงจอมพล เขต จตุจักร กรุงเทพฯ 10900).
Your letter should address the concerns of freedom of expression and fair trial in international communities. The letter should not address directly that you are concerned with the lack of impartiality in the Thai court as this could forbid you from participating in the trial observation, as the court is extremely sensitive on criticism.
Next week, the Criminal Court will resume its schedule on Somyot’s case on 19 December 2012 after it has been delayed for three months without informed explanation. Prior to this, the Constitutional Court also ruled that Article 112 is not against the constitutionality. Both information made the lawyer as well as the family grave concerns about the negative development of the case. According to the lawyer, if the Criminal Court decided on penalty, Somyot may face a sentence of maximum 10-year imprisonment.
While there are neither confirmation nor details about the next court schedule informed by writing, fear of prolonged detention as well as sudden verdict announcement has been worsen among family members.
In this regard, the 112 Family Network would like to draw your attention as well as ask for your participation on the trial observation on 19 December 2012. Due to experience of other freedom of expression cases, we learnt that both Thai and international observers play a very important role to ensure fair trials.
Somyot’s verdict is held Wednesday, December 19, at Bangkok’s Criminal Court (San Aya), on Ratchadapisek Road opposite Soi 32, Lat Phrao MTR station at 9am.
Volunteer interpretation is provided upon request: 112familynetwork@gmail.com.
WE URGE ALL READERS ATTEND COURT IN SUPPORT OF SOMYOT AND TO STAND UP FOR FREE SPEECH.
Thank you so much. We’ll see you in court.
Best Regards,
112FamilyNetwork